12 ปี
กันยายน 2560 ถึง ธันวาคม 2558
ผู้จัดการอาคาร,ผู้จัดการก่อสร้าง,ผู้จัดการความปลอดภัย
บริษัท นีโอ คอร์ปอเรท จำกัด
888 ซอยสุขุมวิท 54 แขวงพระโขนงใต้เขตพระโขนง กรุงเทพมหานคร 10260
สำหรับสมาชิกเท่านั้น
หน้าที่รับผิดชอบในการบริหารจัดการอาคารและทรัพยากรที่เกี่ยวข้องให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด คลังสินค้าและสำนักงานใหญ่ โดยมีขอบเขตหน้าที่ดังนี้:
1. การบริหารจัดการอาคารและระบบประกอบอาคารควบคุมดูแลการทำงานของระบบประกอบอาคาร เช่น ระบบไฟฟ้า ประปา ปรับอากาศ ลิฟต์ และระบบป้องกันอัคคีภัยวางแผนและควบคุมการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance) เพื่อยืดอายุการใช้งานของระบบและอุปกรณ์ตรวจตราอาคารอย่างสม่ำเสมอ เพื่อตรวจสอบความเรียบร้อยและความปลอดภัยบริหารจัดการพลังงานและสาธารณูปโภคให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดจัดทำแผนฉุกเฉินและแผนอพยพในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน
2. การบริหารจัดการพื้นที่ใช้สอยวางแผนและจัดสรรพื้นที่ใช้สอยให้เกิดประโยชน์สูงสุดควบคุมดูแลการตกแต่งและต่อเติมภายในและภายนอกอาคารกำหนดกฎระเบียบการใช้อาคารและพื้นที่ส่วนกลางจัดเตรียมพื้นที่สำหรับการจัดกิจกรรมหรืองานเทศกาลต่างๆ
3. การบริหารจัดการทีมงานและผู้รับเหมาควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของพนักงานทุกฝ่าย เช่น ช่างเทคนิค เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย พนักงานทำความสะอาดจัดอบรมและพัฒนาทักษะการทำงานให้แก่ทีมงานควบคุมและประเมินผลการทำงานของผู้รับเหมาภายนอก เช่น บริษัทรักษาความปลอดภัย บริษัททำความสะอาด บริษัทบำรุงรักษาลิฟต์สร้างจิตสำนึกในการให้บริการที่ดีแก่ทีมงาน
4. การบริหารจัดการงบประมาณและการเงินจัดทำและบริหารงบประมาณการดำเนินงานประจำปีควบคุมค่าใช้จ่ายในการบริหารอาคารให้เป็นไปตามงบประมาณที่กำหนด
จัดทำรายงานการเงินและบัญชีที่เกี่ยวข้องจัดเก็บและควบคุมรายรับจากการให้บริการต่างๆ เช่น ค่าเช่า ค่าสาธารณูปโภค
5. การให้บริการและการประสานงานให้บริการและอำนวยความสะดวกแก่ผู้เช่า ผู้พักอาศัย หรือผู้ใช้อาคาร
รับเรื่องร้องเรียนและแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในอาคารประสานงานกับหน่วยงานภายนอก เช่น การไฟฟ้า การประปา หรือหน่วยงานราชการ
จัดทำรายงานการจัดการอาคารเสนอต่อผู้บริหารหรือเจ้าของอาคาร
6. การบริหารจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมกำหนดมาตรการด้านความปลอดภัยและการรักษาความปลอดภัยของอาคาร
ดูแลให้การดำเนินงานของอาคารเป็นไปตามกฎหมายด้านความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมวางแผนและดำเนินการด้านการจัดการขยะและมลพิษส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมภายในอาคา
หน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพที่สำนักงานใหญ่
1. ตรวจสอบ และเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติการตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกำหนดมาตรการป้องกัน หรือขั้นตอนการทำงานอย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง
3. ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงาน
4. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการทำงานต่อนายจ้าง
5. ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ หรือมาตรการความปลอดภัยในการทำงาน
6. แนะนำให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3
7. แนะนำ ฝึกสอน อบรมลูกจ้างเพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยในการทำงาน
8. ตรวจ วัด และประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือดำเนินการร่วมกับบุคคล หรือหน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน รายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำงานภายในสถานประกอบกิจการ
9. เสนอ แนะต่อนายจ้างเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานที่เหมาะสมกับ สถานประกอบกิจการ และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
10. ตรวจ สอบสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า
11. รวบ รวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำรายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้าง
12. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย
ดูแลควบคุมงานก่อสร้างต่างๆๆ บริหารจัดการโครงการก่อสร้างให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ ตรงตามเป้าหมาย แผนงาน งบประมาณ และมาตรฐานที่กำหนดไว้ โดยมีขอบเขตหน้าที่ครอบคลุมทั้งการวางแผน การดำเนินงาน การควบคุม และการประสานงานระหว่างฝ่ายต่างๆ
1. การวางแผนและจัดการโครงการวางแผนขั้นตอนการก่อสร้าง: กำหนดลำดับงาน ระยะเวลา และวิธีการดำเนินงานในแต่ละขั้นตอน
จัดทำแผนงานและตารางเวลา: สร้างตารางการทำงานโดยละเอียด กำหนดเวลาเริ่มต้นและสิ้นสุดของแต่ละกิจกรรม
วางแผนการใช้ทรัพยากร: จัดสรรแรงงาน วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องจักรให้เพียงพอและเหมาะสมกับงาน
จัดทำแผนงบประมาณ: คำนวณต้นทุนโครงการ กำหนดงบประมาณ และวางแผนการเบิกจ่าย
2. การบริหารและควบคุมการก่อสร้างควบคุมการดำเนินงานก่อสร้าง: ดูแลให้การก่อสร้างเป็นไปตามแบบและแผนงานที่กำหนด
ควบคุมคุณภาพงาน: ตรวจสอบคุณภาพวัสดุและงานก่อสร้างให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนด
ควบคุมเวลาการทำงาน: ติดตามความคืบหน้าและเร่งรัดงานให้เป็นไปตามกำหนดเวลา
ควบคุมงบประมาณ: ติดตามค่าใช้จ่ายให้อยู่ในกรอบงบประมาณที่กำหนด
3. การบริหารจัดการความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมกำหนดมาตรการความปลอดภัย: วางแผนและควบคุมให้มีการใช้อุปกรณ์ป้องกันและปฏิบัติตามมาตรฐานความปลอดภัย
ตรวจสอบความปลอดภัยในไซต์งาน: ทำการตรวจสอบพื้นที่ก่อสร้างสม่ำเสมอเพื่อป้องกันอุบัติเหตุ
จัดการด้านสิ่งแวดล้อม: ควบคุมผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการก่อสร้าง เช่น มลพิษทางเสียง ฝุ่น และการจัดการขยะ
4. การบริหารจัดการทีมงานและผู้รับเหมาจัดสรรและควบคุมทีมงาน: มอบหมายงานและควบคุมการทำงานของทีมงานก่อสร้าง
บริหารผู้รับเหมาช่วง: คัดเลือก ว่าจ้าง และควบคุมการทำงานของผู้รับเหมาช่วงพัฒนาและฝึกอบรมทีมงาน: จัดการอบรมทักษะและความรู้ที่จำเป็นให้แก่ทีมงานแก้ไขปัญหาและข้อขัดแย้ง: จัดการกับปัญหาและข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการทำงาน
5. การประสานงานและการสื่อสารประสานงานกับผู้เกี่ยวข้อง: ติดต่อประสานงานกับเจ้าของโครงการ สถาปนิก วิศวกร ผู้รับเหมา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดการประชุมโครงการ: จัดการประชุมประจำ เพื่อติดตามความคืบหน้าและแก้ไขปัญหา
จัดทำรายงาน: จัดทำรายงานความคืบหน้า รายงานปัญหา และรายงานสรุปสำหรับผู้บริหารและเจ้าของโครงการ
จัดการเอกสารโครงการ: ดูแลเอกสารสำคัญต่างๆ เช่น สัญญา แบบก่อสร้าง ใบอนุญาต และเอกสารทางการเงิน
6. การบริหารจัดการด้านกฎหมายและใบอนุญาตดูแลเรื่องกฎหมายและข้อบังคับ: ตรวจสอบให้การก่อสร้างเป็นไปตามกฎหมายและข้อบังคับที่เกี่ยวข้องจัดการใบอนุญาต: ดำเนินการขอใบอนุญาตต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับการก่อสร้าง
จัดการสัญญา: ดูแลให้การดำเนินงานเป็นไปตามเงื่อนไขในสัญญา
7. การตรวจสอบและส่งมอบโครงการตรวจสอบงานก่อสร้าง: ทำการตรวจสอบคุณภาพงานก่อสร้างก่อนส่งมอบ
จัดการกระบวนการส่งมอบ: ประสานงานในการส่งมอบโครงการให้กับเจ้าของจัดทำเอกสารส่งมอบ: จัดเตรียมเอกสารที่จำเป็นสำหรับการส่งมอบ เช่น คู่มือการใช้งาน แบบก่อสร้างจริง (As-built Drawing) และเอกสารรับประกัน
ติดตามงานหลังการส่งมอบ: ดูแลการแก้ไขข้อบกพร่องและให้บริการหลังการส่งมอบ
กุมภาพันธ์ 2559 ถึง กุมภาพันธ์ 2560
วิศวกรโครงการ
บริษัท เจ ดับบลิว เอส คอนสตรัคชั่น จำกัด
709/3 ถนนอ่อนนุช - ลาดกระบังแขวงลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร 10520โทรศัพท์: 02-737-1011-5 ต่อ 380, 382เว็บไซต์: www.jws.co.th
สำหรับสมาชิกเท่านั้น
- วางแผนโครงการก่อสร้าง ทั้งแผนงาน งบประมาณ อุปกรณ์ ทีมงานและผู้รับเหมา
- ควบคุมตรวจสอบการทำงานให้ได้ตามรูปแบบ คุณภาพตามมาตรฐาน
- ควบคุมต้นทุนการก่อสร้างให้เป็นไปตามงบประมาณที่ได้รับอนุมัติ
- บริหารงานสำนักงาน เช่น ตรวจสอบแผนก่อสร้าง ยอดรายได้ ยอดโอน, ตรวจสอบรายงานความคืบหน้าโครงการ ฯลฯ
พฤศจิกายน 2554 ถึง กุมภาพันธ์ 2559
วิศวกรโยธาอาวุธโส และ จป.วิชาชิพ
เจมิไนย แอนด์ แอสโซซิเอท จำกัด
976/6 ชั้น 11 อาคาร sm ทาวเวอร์ ถ.พหลโยธิน สามเสนใน พญาไท กทม. 10400
สำหรับสมาชิกเท่านั้น
โครงการก่อสร้างอาคารศูนย์ปฎิบัติการนวัตกรรมทางเทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาเขตกำแพงแสนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
โครงการก่อสร้างอาคารเรียนรวมคณะวิศวกรรมศาสตร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลพระนคร
หน้าที่ความรับผิดชอบ วิศวกรโครงการ
- ด้านสัญญา ตรวจสอบสัญญา แบบรูปและเอกสารประกอบสัญญา ข้อกำหนดต่าง ๆ อย่างละเอียด ดูเงื่อนไขที่สำคัญต่าง ๆ และสามารถจำเนื้อหาหลัก/ทบทวนและตรวจสอบแบบ Tender กับแบบ For Construction เพื่อสรุปงาน VO.ที่เกิดขึ้น/ติดตามผู้รับผิดชอบ ให้ทำการแก้ไขงานที่บกพร่องภายใต้เงื่อนไขของสัญญา
-ด้านแผนงาน จัดทำ แผนงานหลัก/จัดทำ แผนอนุมัติ วัสดุ-อุปกรณ์ คนงาน/เครื่องจักร/จัดทำแผนงาน 3 Weeks/3 Months เพื่อติดตามความก้าวหน้าโครงการอย่างใกล้ชิด/ตรวจสอบแผนงานของผู้รับเหมา ช่วง/วางแผนการป้องกันวัสดุที่จัดเก็บในสโตร์โครงการทั้งในและนอกคลัง หรืองานที่ติดตั้งแล้ว ไม่ให้สูญหายหรือเสียหาย/ตรวจสอบบันทึกหน้างานประจำวัน (Daily Request , Daily Report) และรวบรวมจัดทำรายงานประจำสัปดาห์และเดือนว่ามีจัดทำครบและถูกต้อง
-ด้านงบประมาณ-การเงิน ทบทวนแบบและวิธีการก่อสร้าง เพื่อตรวจสอบงบประมาณที่ได้มาจากฝ่ายประเมินราคาก่อสร้างเพื่อขอแก้ไขและขอ อนุมัติงบประมาณที่จะใช้ในการบริหารงานภายใน 3 เดือน และควบคุมต้นทุนและค่าใช้จ่าย ค่าดำเนินการของโครงการฯ ให้ได้กำไรสุทธิสูงสุด/จัดทำ Cash Flow จัดทำ / ส่ง / ติดตามงาน VO /จัดทำ / ส่ง / ติดตาม Payments จัดทำ ตรวจสอบและลงนามในการเบิกงวดงานของผู้รับเหมาช่วงและการทำค่าแรงคนงานรายวัน
-ด้านเทคนิค สรุปวิธีการก่อสร้างที่เหมาะสม ราคาถูก ปลอดภัยและใช้เวลาดำเนินการอย่างเร่งรัด/ หา วัสดุ/อุปกรณ์ / เครื่องจักร ที่เหมาะสมกับการก่อสร้าง วางแผนการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่ใช้งานหรือเครื่องมือวัด รวมทั้งตรวจสอบ/และอนุมัติแผนการซ่อมบำรุงและสอบเทียบตามช่วงเวลาที่กำหนด ไว้/แก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม / บริหาร เมื่อพบปัญหาอุปสรรค/ช่วยเหลือผู้จัดการโครงการเตรียมการเคลื่อนย้ายเข้า โครงการ(Site Mobilization) ให้มีความพร้อมสำหรับเจ้าหน้าที่ เช่น Site Office, สาธารณูปโภค เป็นต้น และเคลียร์ตามรายการที่ระบุไว้สำหรับการเตรียมการก่อนเคลื่อนย้ายออกจากโครงการ
หน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับวิชาชีพ
1. ตรวจสอบ และเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติการตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
2. วิเคราะห์งานเพื่อชี้บ่งอันตราย รวมทั้งกำหนดมาตรการป้องกัน หรือขั้นตอนการทำงานอย่างปลอดภัยเสนอต่อนายจ้าง
3. ประเมินความเสี่ยงด้านความปลอดภัยในการทำงาน
4. วิเคราะห์แผนงานโครงการ รวมทั้งข้อเสนอแนะของหน่วยงานต่างๆ และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการทำงานต่อนายจ้าง
5. ตรวจประเมินการปฏิบัติงานของสถานประกอบกิจการให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ หรือมาตรการความปลอดภัยในการทำงาน
6. แนะนำให้ลูกจ้างปฏิบัติตามข้อบังคับและคู่มือตามข้อ 3
7. แนะนำ ฝึกสอน อบรมลูกจ้างเพื่อให้การปฏิบัติงานปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดความ ไม่ปลอดภัยในการทำงาน
8. ตรวจ วัด และประเมินสภาพแวดล้อมในการทำงาน หรือดำเนินการร่วมกับบุคคล หรือหน่วยงานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเป็นผู้รับรอง หรือตรวจสอบเอกสารหลักฐาน รายงานในการตรวจสอบสภาพแวดล้อมในการทำงานภายในสถานประกอบกิจการ
9. เสนอ แนะต่อนายจ้างเพื่อให้มีการจัดการด้านความปลอดภัยในการทำงานที่เหมาะสมกับ สถานประกอบกิจการ และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
10. ตรวจ สอบสาเหตุ และวิเคราะห์การประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงาน และรายงานผล รวมทั้งเสนอแนะต่อนายจ้างเพื่อป้องกันการเกิดเหตุโดยไม่ชักช้า
11. รวบ รวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดทำรายงาน และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนรำคาญอันเนื่องจากการทำงานของลูกจ้าง
12. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยในการทำงานอื่นตามที่นายจ้างมอบหมาย