ข้อมูลส่วนตัว สำหรับสมาชิกเท่านั้น LGBTQ+ (โสด) ไทย พุทธ 23-มิถุนายน-2546 อายุ 21ปี 152 Cm หนัก 54 Kg ไม่ได้เกณฑ์ ข้อมูลการติดต่อ สำหรับสมาชิกเท่านั้น อุบลราชธานี (น้ำขุ่น, น้ำยืน) สำหรับสมาชิกเท่านั้น สำหรับสมาชิกเท่านั้น สำหรับสมาชิกเท่านั้น สำหรับสมาชิกเท่านั้น โทรศัพท์ , Email , ไลน์ไอดี ข้อมูลทั่วไป วิศวกรรมโยธา/สำรวจ งานประจำ (Full Time) 18,000บาท ขึ้นไป 6 เม.ย. 2568 6 เม.ย. 2568 JobTH.com | ประวัติการศึกษาสูงสุด จบการศึกษาแล้ว ในปี พศ. 2568 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ใบรับรองคุณวุฒิ และมีเป็นtranscript วิศวกรรมโยธา 2.74 มัธยมศึกษาต้น-ปลาย โรงเรียนน้ำยืนวิทยา - วิทย์-คณิต ประวัติการทำงาน 0 ปี มีนาคม 2567 ถึง พฤษภาคม 2567 นักศึกษาฝึกงาน (ผู้ช่วยวิศวกร) บริษัท บริทาเนีย จำกัด(มหาชน) บริทาเนีย ระยอง,By Pass 36,ตำบลมาบข่า อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง 21000 สำหรับสมาชิกเท่านั้น ทำ BOQ จัดทำ Weekly-Report ของงานถมดินและงานเสาเข็มรั้วโครงการแกรนด์ บริทาเนีย ระยอง ควบคุมคุณภาพงานตอกเสาเข็มรั้วโครงการ และงานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย ประวัติการฝึกอบรม ความสามารถ ความสามารถทางภาษา พูด (ดีมาก) อ่าน (ดีมาก) เขียน (ดีมาก) พูด (พอใช้) อ่าน (ดี) เขียน (พอใช้) ไทย 26 คำ/นาที อังกฤษ 11 คำ/นาที รถยนต์ ,รถจักรยานยนต์ , รถจักรยานยนต์ , โครงการ / ผลงาน / เกียรติประวัติ / บุคคลอ้างอิง โครงงานการศึกษาการไหลผ่านแก่งสะพือด้วยแบบจำลองกายภาพ บทคัดย่อ การศึกษานี ้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และพัฒนาแนวทางในการเพิ่มขีดความสามารถในการระบาย น้ำของแก่งสะพือ โดยการออกแบบและสร้างคลองระบายน้ำในหุ่นจำลองกายภาพ ซึ่งจำลองสภาพการไหล ของน้ำที่เกิดขึ้นในพื้นที่จริง การศึกษานี้ดำเนินการในห้องปฏิบัติการ โดยทำการทดสอบอัตราการไหลและ ระดับน้ำภายใต้เงื่อนไขต่างๆ เพื่อตรวจสอบผลกระทบของคลองระบายน้ำที่สร้างขึ้นต่อการปรับปรุง ประสิทธิภาพการไหลของน้ำ ขั้นตอนการศึกษาเริ่มต้นจากการทบทวนข้อมูลทางชลศาสตร์และแบบจำลองกายภาพของพื้นที่ศึกษา เพื่อนำมาประกอบการออกแบบคลองระบายน้ำที่เหมาะสม จากนั้นจึงทำการสร้างแบบจำลองกายภาพใน ห้องปฏิบัติการ และทำการทดลองภายใต้สภาวะการไหลที่แตกต่างกัน โดยเน้นการปรับเปลี่ยนขนาดและอัตรา การไหลของคลองระบายน้ำเพื่อหาค่าที่เหมาะสมที่สุด ผลการศึกษาพบว่าการสร้างคลองระบายน้ำสามารถลดระดับน้ำบริเวณต้นน้ำได้อย่างมีนัยสำคัญ และ ช่วยปรับปรุงการไหลทางด้านท้ายน้ำ โดยจากการทดลองในห้องปฏิบัติการ การตัดสินใจเลือกช่วงที่เหมาะสม ควรพิจารณาจากงบประมาณเป็นหลัก กล่าวคือ หากมีงบประมาณจำกัด ควรเลือกใช้ช่วงอัตราการระบายน้ำที่ 10%-20% ในขณะที ่หากมีงบประมาณสูงขึ้น สามารถเลือกใช้ช่วง 30%-50% ได้ สำหรับผลกระทบทางด้าน ท้ายน้ำในเชิงไฮดรอลิก อาจจำเป็นต้องมีการศึกษาเพิ่มเติมในอนาคตเพื่อให้ได้ข้อสรุปที่ชัดเจนยิ่งขึ้น จากผลการทดลองและการวิเคราะห์ข้อมูลพบว่า แนวทางการออกแบบคลองระบายน้ำสามารถนำไป ประยุกต์ใช้จากกการนำผลการทดสอบแปลงไปเป็นค่าในสนามจริงกับการเตรียมการพร่องน้ำเพื่อรองรับ สถานการณ์น้ำท่วมฉับพลันได้ ผลการศึกษานี้สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการออกแบบระบบบริหารจัดการน้ำและโครงสร้างทาง น้ำเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการควบคุมและระบายน้ำ ลดผลกระทบจากน้ำท่วม และปรับปรุงเสถียรภาพของ ระบบชลศาสตร์ในพื้นที่ลุ่มน้ำขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สำหรับสมาชิกเท่านั้น |