ข้อมูลส่วนตัว สำหรับสมาชิกเท่านั้น หญิง (โสด) ไทย พุทธ 21-พฤศจิกายน-2539 อายุ 26ปี 160 Cm หนัก 50 Kg รด.ปี5 ข้อมูลการติดต่อ สำหรับสมาชิกเท่านั้น ระยอง (ไม่ระบุ) สำหรับสมาชิกเท่านั้น สำหรับสมาชิกเท่านั้น สำหรับสมาชิกเท่านั้น โทรศัพท์ ข้อมูลทั่วไป การเกษตร/การประมง/ปศุสัตว์ งานประจำ (Full Time) 15,000บาท ขึ้นไป 16 ส.ค. 2562 2 ก.ย. 2562 JobTH.com | ประวัติการศึกษาสูงสุด จบการศึกษาแล้ว ในปี พศ. 2562 ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขต จันทบุรี วทบ. เทคโนโลยีทางทะเล 2.84 มัธยมศึกษาต้น-ปลาย โรงเรียนบ้านฉางกาญจนกุลวิทยา มัธยมปลาย วิทย์-คณิต 3.30 ประวัติการทำงาน 0 ปี พฤษภาคม 2561 ถึง กรกฎาคม 2561 ฝึกงาน ศูนย์ศึกษาการพัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ปู ป่าทุ่งทะเล อันเนื่องมาจากพระราชดำริ 79 หมู่ 3 ตำบล เกาะกลาง อำเภอเกาะลันตา กระบี่ 81120 สำหรับสมาชิกเท่านั้น -เลี้ยงพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ปูทะเล -เพาะเลี้ยงZoea ไปจนถึง วัยที่เป็นปูม้าสมบูรณ์ -ขยายพันธุ์คลอเรรา -เลี้ยงกุ้งขาว ประวัติการฝึกอบรม เมษายน 2559 ถึง เมษายน 2559 โรงพยาบาลพระปกเกล้า จ.จันทบุรี การช่วนฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (First Aid&CPR) ความสามารถ ความสามารถทางภาษา พูด (ดีมาก) อ่าน (ดีมาก) เขียน (ดีมาก) พูด (พอใช้) อ่าน (พอใช้) เขียน (พอใช้) ไทย คำ/นาที อังกฤษ คำ/นาที รถจักรยานยนต์ , รถจักรยานยนต์ , -ดำน้ำลึกได้ (Advanced Scuba) -เล่นเรือใบ โครงการ / ผลงาน / เกียรติประวัติ / บุคคลอ้างอิง องค์ประกอบและความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณซั้งเชือก ชุมชนบ้านคลองมะขาม ตำบลหาดเล็ก จังหวัดตราด (COMPOSITION AND DENSITY OF MACROBENTHOS IN THE VISINITY OF FISH AGGREGATING DEVICES (FADs) AT BAN KHLONG MAKHAM,HAT LEK DISTRICT, TRAT PROVINCE) การศึกษาองค์ประกอบและความหนาแน่นของสัตว์หน้าดินขนาดใหญ่บริเวณซั้งเชือก ชุมชนบ้านคลองมะขาม ตำบลหาดเล็ก จังหวัดตราด เป็นเวลา 5 เดือน ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2561- เมษายน 2562 โดยใช้ Ekman grab ขนาด6×6 ตารางนิ้ว เก็บตัวอย่างทั้งหมด 9 สถานี ซึ่งสถานีที่1 ถึง 3 เป็นสถานีที่อยู่ในซั้ง สถานีที่4 ถึง 6 เป็นสถานีที่ห่างออกไป 500 เมตร และ 7 ถึง 9 เป็นสถานีที่ห่างออกไป 1,000 เมตร พบสัตว์หน้าดินทั้งหมด 4 ไฟลัมได้แก่ Annelida, Arthropoda, Echinodermata และ Mollusca โดยไฟลัมที่พบมากที่สุด คือ Annelida ซึ่งมีไส้เดือนทะเลวงศ์ Nephtyidae เป็นกลุ่มเด่น รองลงมาคือ ไฟลัม Arthropoda ชั้น Crustacea จะพบปูเป็นส่วนมาก เมื่อเปรียบเทียบความหนาแน่นของสัตว์หน้าดิน ค่าดัชนีความหลากหลาย และปริมาณสารอินทรีย์ในดินบริเวณในซั้ง และนอกซั้งห่างออกไป 500 เมตรและห่างออกไป1,000 เมตร พบว่าในซั้งมีความหนาแน่นมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเป็น 205±164, 118±94 และ169±135 ตัว/ตารางเมตร ตามลำดับ (p=0.3945) ในบริเวณซั้งมีค่าดัชนีความหลากหลายมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเป็น 0.77±0.69, 0.61±0.57 และ0.72±0.67 ตามลำดับ (p=0.8721) และพบว่าในบริเวณซั้งมีปริมาณสารอินทรีย์ในดินมากที่สุด โดยมี LOI เฉลี่ยเป็น 0.24±0.21, 0.16±0.15 และ 0.16±0.15 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ(p=0.9494) ความหนาแน่นของสัตว์หน้าดิน และปริมาณสารอินทรีย์ในการศึกษานี้มีความสัมพันธ์กันในเชิงบวกในระดับต่ำมาก (R=0.1697) สำหรับสมาชิกเท่านั้น |